บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2017
รูปภาพ
       ตัวอย่างโปรโตคอล  ที่ทำงานใน OSI Model แต่ละ Layer ต่อไปนี้ มาอย่างน้อย Layer ละ 3-4 โปรโตคอล   OSI Model Layer Protocal Data Link Layer SBTV, SLIP,PPP Network Layer OSPF,  RIP , lGMP Transport Layer UDP, DCCP, SCTP Session Layer PPTP ,TCP, RTP Presentation Layer XDR , SSL, TLS Application Layer NTP,  SMPP, DHCP
รูปภาพ
     ARP             (Address Resolution Protocol)  เ ป็น โปรโตคอลที่ใช้ในการสื่อสารลักษณะการทำงานของARP ARP จะทำงานเมื่อมีการติดต่อสื่อสารบน LAN (Ethernet) ระหว่างเครื่องต้นทาง และ เครื่องปลายทาง ใช้ค้นหาและจับคู่ระหว่าง MAC Address กับ IP Address เพื่อให้ส่งถึงปลายทางในระดับ L2 ตาม OSI Model ได้ ลองมาดูเพื่อทำความเข้าใจกันต่อนะครับ   เมื่อเครื่อง NB1 ต้องการส่งข้อมูลหาเครื่อง NB2 จะเกิดการทำงานตาม OSI Model ดังนี้ (สมมุติว่าผมทำการ Ping จาก NB1 ไป NB2) ที่ Layer 3 เครื่อง NB1 จะสร้าง IP Packet ขึ้นมา โดยใน IP Packet จะระบุ Source IP address และ Destination IP address เพื่อใช้ในการส่งข้อมูล (Data)  IP Packet ของ NB1 จะถูก Encapsulation ลงมาที่ Layer 2 คือ Ethernet Frame โดยใน Ethernet Frame จะระบุ Source MAC address และ Destination MAC address จากรูป เป็น Ethernet Frame ของเครื่อง NB1 จะเห็นว่า เครื่อง NB1 จะไม่มีข้อมูล Destination MAC address ของเครื่อง NB2 ทำให้ยังไม่สามารถส่งข้อมูลได้ NB1 จึงจะต้องทำการถามหา MAC address ของ NB2 เพื่อให้การ Encapsulation บ

NNP

รูปภาพ
NNP NNP (Network News Transfer Protocol)  ใช้ในการส่งข้อมูลของระบบNetwork  เพื่อประโยชน์ในการดูแลและรับข้อมูลเชิงลึกของระบบคอมพิวเตอร์  แหล่งที่มา:goo.gl/rZdaZf

Point-to-Point Protocol

รูปภาพ
PPP PPP  หรือ Point-to-Point Protocol   เป็น Protocol สำหรับการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 ตัว หรือ Router 2 ตัว ด้วยการอินเตอร์เฟซแบบอนุกรม         ตามปกติคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่เชื่อมด้วยสายโทรศัพท์ไปที่เครื่อง Server ของผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตให้ผู้ใช้ต่อเชื่อมด้วย PPP ทำให้เครื่อง Server สามารถตอบสนองคำขอของผู้ใช้ได้ PPP ยังแบ่งเป็นหลายแบบตามสื่อที่ใช้งาน PPP PAP และ PPP CHAP สำหรับการเชื่อมต่อผ่าน Serial port หรือ PPPoE และ PPPoA  แหล่งที่มา:http://jodoi.org/protocol.html

Bootstrap Protocol

รูปภาพ
BOOTP BOOTP ย่อมาจากคำว่า Bootstrap Protocol เป็นโปรโตคอลที่พัฒนาให้ดีกว่า RARPปัจจุบันก็ยังมีการใช้งานอยู่ BOOTP เป็นต้นแบบของ DHCP ในการแก้ไขปัญหาการกำหนดหมายเลข IP ให้เครื่องสมาชิกโดยอัตโนมัติ         BOOTP มีแนวคิดมาจาก Diskless Workstation คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีดิสก์หรือไม่มีระบบปฏิบัติการอยู่ในตัว ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องที่เราใช้ทำงานอย่างเดียวไม่สามารถลงติดตั้งโปรแกรมหรือทำอย่างอื่นได้นอกเหนือจากงานที่กำหนดไว้ เช่น คอมพิวเตอร์ในช่องขายตั๋วหน้าเค้าท์เตอร์ธนาคาร ตลาดหุ้น ห้องสมุดซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้แสดงผล ค้นหา และทำธุรกรรมอย่างง่าย ๆ ได้ คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เมื่อเปิดเครื่อง เซิร์ฟเวอร์จะทราบได้ทันทีและส่งข้อมูลระบบปฏิบัติการโปรแกรมที่ต้องใช้ รวมถึงค่า IP เพื่อให้เครื่อง Diskless Workstation สามารถทำงานได้ แหล่งที่มา:http://pammare.blogspot.com/2013/09/8.html

IPX/SPX (Internetwork Packet Exchange/Sequenced Packet Exchange )

รูปภาพ
IPX/SPX  (In ternetwork Packet Exchange/Sequenced Packet Exchange ) IPX เป็นโปรโตคอลชนิดหนึ่งที่ทำงานอยู่ในคอมพิวเตอร์ โดยส่วนมากแล้วจะทำงานควบคู่กับโปรโตคอล SPX โดยเราจะเห็นการเขียน IPX/SPX อยู่เสมอ ก่อนที่เราจะรู้จักโปรโตคอลตัวนี้ให้ดีเสียก่อนเราควรรู้จักก่อนว่าโปรโตคอลมีความสำคัญและมีหน้าที่อย่างไรในระบบเน็ตเวิร์ค IPX คืออะไร ในการสื่อสารของระหว่างสิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีภาษาที่ใช้สื่อสารกันเฉพาะกลุ่มอยู่แล้ว ทั้งภาษาพูด และภาษากาย ซึ่งการพูดคุยกันนั้นเราจะต้องใช้ภาษาเดียวกันในการพูด แต่ถ้าคนที่คุยกันคนละภาษามาคุยกัน ก็ต้องใช้เครื่องแปลภาษาให้เป็นภาษากลางเพื่อให้คนทั้งสองพูดคุยกัน เช่นกันโปรโตคอลก็เหมือนกับเครื่องแปลภาษาที่จะคอยแปลภาษาให้เป็นภาษากลางให้คอมพิวเตอร์ทุกตัวในโลกนี้สามารถติดต่อกันได้แม้ว่าจะใช้ภาษาในการติดต่อกันคนละภาษาก็ตาม โดยหนึ่งในโปรโตคอลที่นิยมใช้งานกันมากตัวหนึ่งก็คือ IPX/SPX หลักการทำงานของโปรโตคอล IPX/SPX ถ้าจะเปรียบเทียบให้เห็นภาพก็ต้องแยกออกมาเป็นโปรโตคอล 2 ตัวด้วยกันคือ Internetwork Packet Exchange (IPX) ทำหน้าที่เหมือนกับพนักงานคัดแยะ

NetBIOS

รูปภาพ
NetBIOS          ถูกออกแบบมาเพื่อเป็น protocol ที่เป็นตัวเชื่อม (interface) ระหว่างระบบปฏิบัติการกับฮาร์ดแวร์ เพื่อให้ application สามารถสื่อสารกับเครือข่ายได้โดยเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ทั้งนี้application จะสามารถเข้าถึงเลเยอร์สูงสุดของ OSI model ได้เท่านั้น ซึ่งทำให้ application ที่สร้างขึ้นมาสามารถทำงานได้ในเครือข่ายที่มี network environment ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ NetBIOS จะทำหน้าที่ขนส่งข้อมูลไปยัง application ที่อยู่บนเครื่องอื่นในเครือข่ายให้                ใน ช่วงเริ่มต้นนั้น NetBIOS ถูกออกแบบให้ทำงานได้กับ IBM's PC LAN เท่านั้น แต่ปัจจุบัน NetBIOS ได้กลายเป็นพื้นฐานของ network application ไปแล้ว โดย NetBIOS เป็นโปรโตคอลที่ถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย มันสามารถทำงานได้บน Ethernet, Token ring, IBM PC Network NetBIOS ถูกออกแบบมาให้เป็นตัวเชื่อม เป็นส่วนขยายของ BIOS ที่ช่วยให้สามารถติดต่อใช้งานบริการบนเครือข่ายได้ จึงกล่าวได้ว่า NetBIOS ถูกออกแบบให้เป็น Application Program Interface (API) ในขณะเดียวกัน NetBIOS ก็ถือว่าเป็นโปรโตคอลได้เช่นเดียวกันกับTCP/IP เพราะมีชุดของโปรโต

NetBEUI

รูปภาพ
NetBEUI        โปรโตคอล NetBEUI หรือ NetBIOS Enhanced User Interface นั้น เป็นโปรโตคอลที่ไม่มี ส่วนในการระบุเส้นทางส่งผ่านข้อมูล (Non-routable Protocol)โดยจะใช้วิธีการ Broadcastข้อมูลออกไปในเครือข่าย และหากใครเป็นผู้รับที่ถูกต้องก็จะนำข้อมูลที่ได้รับไปประมวลผล ข้อจำกัดของโปรโตคอลประเภทนี้ก็คือไม่สามารถทำการ Broadcast ข้อมูลข้ามไปยัง Physical Segment อื่นๆที่ไม่ใช่ Segment เดียวกันได้ เป็นการแบ่งส่วนของเครือข่ายออกจากกันทางกายภาพ หากต้องการเชื่อมต่อเครือข่ายถึงกันจะต้องใช้อุปกรณ์อย่างเช่น Router มาทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างเครือข่าย        เนื่องมาจากอุปกรณ์บางอย่างเช่น Router ไม่สามารถจะ Broadcast ข้อมูลต่อไปยังเครือข่ายอื่นๆได้ เพราะถ้าหากยอมให้ทำเช่นนั้นได้ จะทำให้การสื่อสารระหว่างเครือข่ายคับคั่งไปด้วยข้อมูลที่เกิดจากการ Broadcast จนเครือข่ายต่างๆไม่สามารถที่จะสื่อสารกันต่อไปได้ โปรโตคอล NetBEUI จึงเหมาะที่จะใช้งานบนเครือข่ายขนาดเล็กที่มีจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่เกิน 50 เครื่องเท่านั้นNetBEUI เป็นหนึ่งในสองทางเลือกสำหรับผู้ใช้งาน NetBIOS ( Network Basic Input Output Syste

User Datagram Protocol (UDP)

รูปภาพ
User Datagram Protoco        เป็นโพรโทคอลหลักในชุดโพรโทคอลอินเทอร์เน็ต การส่งข้อมูลผ่านยูดีพีนั้น คอมพิวเตอร์จะส่งข้อมูลขนาดเล็กที่เรียกว่า ดาทาแกรม (datagram) ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องปลายทาง โดย UDP จะไม่รับประกันความน่าเชื่อถือและลำดับของเดทาแกรม อย่างที่ทีซีพีรับประกัน ซึ่งหมายความว่าเดทาแกรมอาจมาถึงไม่เรียงลำดับ หรือสูญหายระหว่างทางได้ ทำหน้าที่         จัดการและควบคุมการรับส่งข้อมูล แต่ไม่มีกลไกความคุมการรับ ส่งข้อมูลให้มีเสถียรภาพและเชื่อถือได้ unreliable (อันรีไลเบิ้ล) และ connectionless (คอนเนคชั่นเลทด์) โดยปล่อยให้เป็นหน้าที่ของแอพพลิเคชั่นเลเยอร์ แต่ UDP มีข้อได้เปรียบในการส่งข้อมูลได้ทั้งแบบ unicast ( ยูนิคาสต์), multicast (มัลติคาสต์) และ broadcast (บรอดคาสต์) อีกทั้งยังทำการติดต่อสื่อสารได้เร็วกว่า TCP (ที ซี พี) เนื่องจาก TCP ต้องเสีย overhead (โอเวอร์เฮด) ให้กับขั้นตอนการสื่อสารที่ทำให้ TCP มีความน่าเชื่อถือในการรับส่งข้อมูลนั่นเอง ที่มา http://www.mindphp.com https://th.wikipedia.org

TCP/IP (Transfer Control Protocol/Internet Protocol)

รูปภาพ
TCP/IP (Transfer Control  Protocol/Internet Protocol)          TCP/IP ย่อมาจาก Tranmission Control Protocol / Internet Protocol โปรโตคอล TCP/IP เป็นชุดของโปรโตคอลที่มีการพัฒนามาตั้งแต่ปี 1960 โดยมีวัตถุประสงค์ให้สามารถสื่อสารจากต้นทางข้ามเน็ตเวิร์คไปยังปลายทางได้ และสามารถหาเส้นทางที่จะส่งข้อมูลไปได้เองโดยอัติโนมัติ ถึงแม้ว่าในระหว่างทางอาจผ่านเน็ตเวิร์คที่มีปัญหา โปรโตคอลก็ยังคงหาเส้นทางส่งผ่านข้อมูลไปให้ถึงปลายทางจนได้ ในระยะเริ่มต้นโปรโตคอลนี้ใช้กันในวงการแคบๆ เฉพาะราชการและสถานศึกษาของอเมริกา จนในช่วงปี 90 จึงมีการนำมาใช้ในทางธุรกิจ และเป็นจุดเริ่มต้นของอินเตอร์เน็ตในปัจจุบัน       การแบ่งชั้น (Layering) TCP/IP เป็นชุดของโปรโตคอลที่ประกอบไปด้วยโปรโตคอลย่อยหลายตัว แต่ละตัวจะทำหน้าที่ในแต่ละชั้นหรือเลเยอร์ (layer) ซึ่งรับผิดชอบและแปลความหมายของข้อมูลในแต่ละระดับของการสื่อสาร         ในภาพรวม TCP/IP แบ่งออกเป็น 4 เลเยอร์ ดังนี้   หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละเลเยอร์    1. Link Layer ในเลเยอร์นี้จะเป็นดีไวซ์ไดรเวอร์ที่ทำงานอยู่บน
รูปภาพ
ICMP (Internet Control Message Protocol) ICMP คือ โพรโทคอลที่ทำหน้าที่รายงานความผิดพลาดต่างๆ ใน IP packet และตรวจสอบการทำงานในชั้น Internet Layer หน้าที่หลักของโปรโตคอล ICMP   ( Internet Control Message Protocol ) คือ การแจ้งหรือแสดงข้อความจากระบบ เพื่อบอกให้ผู้ใช้ ทราบว่า เกิดอะไรขึ้นในการส่งผ่านข้อมูลนั้น ซึ่งปัญหาส่วนมากที่พบคือ ส่งไปไม่ได้ หรือปลายทางรับข้อมูลไม่ได้ เป็นต้น ที่มา https://th.wikipedia.org https://www.google.co.th http://amaneamisa.siam2web.com//?cid=1084628
รูปภาพ
RARP            (ReverseAddressResolutionProtocol) จะมีการทำงานที่คล้ายคลึงกับโปรโตคอล ARP โดยจะทำงานในลักษณะตรงกันข้าม ด้วยการแปลงหมายเลขแมคแอดเดรสให้เป็นหมายเลขไอพี ซึ่งโปรโตคอล RARP นี้ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์ที่ปราศจากดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ (Diskless Computer)  ที่มา https://sites.google.com/site/arpkku/home/arp-khux-xari http://pramnaja.blogspot.com/2007/12/blog-post_06.html
รูปภาพ
DHCP DHCP ย่อมาจาก Dynamic Host Configuration Protocol  คือโพรโทคอลที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทำงานแบบแม่ข่ายกับลูกข่าย  DHCP ทำหน้าที่อะไร หน้าที่หลักๆของ DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol) คือคอยจัดการและแจกจ่ายเลขหมายไอพีให้กับลูกข่ายที่มาเชื่อมต่อ กับแม่ข่ายไม่ให้หมายเลขไอพีของลูกข่ายมีการซ้ำกันอย่างเด็ดขาด  แหล่งที่มา http://www.xn--12cg1cxchd0a2gzc1c5d5a.net/dhcp/
รูปภาพ
IMAP  (Internet Message Access Protocol) Internet Message Access Protocol หรือตัวย่อ IMAP (เดิมชื่อ Interactive Mail Access Protocol)           เป็นโปรโตคอลในอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการรับอีเมลการทำงานของ IMAP จะแตกต่างกับ POP3 เนื่องจาก IMAP เป็นโปรโตคอลแบบ on-line ขณะที่ POP3 เป็นโปรโตคอลแบบ off-line โดย IMAP และ POP3 เป็นสองโปรโตคอลรับอีเมลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบัน การทำงาน IMAP           จะมีการทำงานในแบบ online mode คือ การจัดการ email ทั้งหมดจะถูกจัดการที่ server เพียงอย่างเดียว อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อจะมีหน้าที่เพียงแค่อ่าน email หรือส่งคำสั่งไปทำงานบน server เท่านั้น ซึ่ ที่มา http://oknation.nationtv.tv/blog/momam215/2009/07/08/entry-1 http://www.comgeeks.net/imap/ http://www.mindphp.com/

HTTPS

รูปภาพ
HTTPS              https ย่อมาจาก Hypertext Transfer Protocol over Secure Socket Layer   คือ โปรโตคอลที่ระบุถึงการเชื่อมต่อแบบ Secure http โปรโตคอล https สร้างเพื่อความปลอดภัย ในการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตข้อมูลที่ทำการส่งได้ถูกเข้ารหัสเอาไว้ โดยใช้  Asymmetric Algorithm ซึ่งถ้าถูกดักจับได้ก็ไม่สามารถที่จะอ่านข้อมูลนั้นได้รู้เรื่อง การทำงาน     โดยข้อมูลนั้นจะสามารถอ่านได้เข้าใจเฉพาะClient กับเครื่อง Server เท่านั้น   นิยมใช้กับเว็บไซต์ที่ต้องการความปลอดภัยสูง เช่น เว็บไซต์ของธนาคาร ร้านค้าออนไลน์ เป็นต้น ที่มา http://www.mindphp.com

SMTP (Simple Mail Transfer Protocol)

รูปภาพ
         SMTP                 SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) คือ Protocol แบบ TCP/IP ที่ใช้ในการส่ง E-Mail ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไปยังเครื่องบริการอื่น ๆ ซี่งสามารถส่งเมล์ไปยังผู้ใช้ได้ทั่วโลก มีข้อจำกัดในเรื่องของความสามารถในการส่ง e-mail ว่ามันสามารถทำได้แบบเป็นคิวเท่านั้น และ SMTP ส่วนใหญ่จะไม่ยอมให้คนนอกองค์กร หรือ IP ที่อยู่นอกองค์กรใช้งาน       SMTP มีชุดคำสั่งที่ค่อนข้างง่ายสำหรับใช้สื่อสารหรือส่ง email ระหว่าง mail server ทำงานโดยการให้ server แยกส่วนของข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ ที่ server ปลายทางสามารถเข้าใจได้ และเมื่อส่ง mail ออกไป ข้อมูลในรูป string หรือ text จะถูกแยกออกมาเป็นส่วนเพื่อวิเคราะห์หาสิ่งที่ต้องทำในและส่วนนั้นๆ SMTP ช่วยในเรื่อง code ในการจำแนกข้อมูล message ใน mail ส่วน mail server ออกแบบมาให้ทำความเข้าใจความหมายของข้อมูลเหล่านั้น ขณะที่ message ถูกส่งผ่านไปยังปลายทาง บางครั้งอาจจะต้องผ่าน computer จำนวนมาก ซึ่งทำงานโดยการ stored and forward ไปยัง computer ลำดับต่อไปในเส้นทางนั้นเรื่อยๆ มองง่ายๆว่าเหมือนจดหมายนั้นถูกส่งต่อผ่านมือแต่ละคนระหว่างท

internet protocol Transmitsion Control Protocol Internet Protocol

รูปภาพ
internet protocol  Transmitsion Control Protocol Internet Protocol เป็นชุดของโปรโตคอลที่ถูกใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถใช้สื่อสารจากต้นทางข้ามเครือข่ายไปยังปลายทางได้ และสามารถหาเส้นทางที่จะส่งข้อมูลไปได้เองโดยอัตโนมัติ ถึงแม้ว่าในระหว่างทางอาจจะผ่านเครือข่ายที่มีปัญหา โปรโตคอลก็ยังคงหาเส้นทางอื่นในการส่งผ่านข้อมูลไปให้ถึงปลายทางได้ การทำงานTCP/IP  จะทำหน้าที่ในการจัดส่งข้อมูลจากเครื่องต้นทางไปยังเครื่องปลายทางโดยอาศัย IP Address ที่มา http://luckdena.blogspot.com/2008/07/blog-post_23.html http://luckdena.blogspot.com/2008/07/blog-post_23.html

FTP (File Transfer Protocol)

รูปภาพ
FTP (File Transfer Protocol) เอฟทีพี หรือ เกณฑ์วิธีถ่ายโอนแฟ้ม (อังกฤษ: FTP: File Transfer Protocol) เป็นโพรโทคอลเครือข่ายชนิดหนึ่ง ใช้สำหรับแลกเปลี่ยนและจัดการไฟล์บนเครือข่ายทีซีพี/ไอพีเช่นอินเทอร์เน็ต เอฟทีพีถูกสร้างขึ้นด้วยสถาปัตยกรรมแบบระบบรับ-ให้บริการ (client-server) และใช้การเชื่อมต่อสำหรับส่วนข้อมูลและส่วนควบคุมแยกกันระหว่างเครื่องลูกข่ายกับเครื่องแม่ข่าย โปรแกรมประยุกต์เอฟทีพีเริ่มแรกโต้ตอบกันด้วยเครื่องมือรายคำสั่ง สั่งการด้วยไวยากรณ์ที่เป็นมาตรฐาน แต่ก็มีการพัฒนาส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ขึ้นมาสำหรับระบบปฏิบัติการเดสก์ท็อปที่ใช้กันทุกวันนี้ เอฟทีพียังถูกใช้เป็นส่วนประกอบของโปรแกรมประยุกต์อื่นเพื่อส่งผ่านไฟล์โดยอัตโนมัติสำหรับการทำงานภายในโปรแกรม เราสามารถใช้เอฟทีพีผ่านทางการพิสูจน์ตัวจริงด้วยชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน หรือเข้าถึงด้วยผู้ใช้นิรนาม นอกจากนี้ยังมีทีเอฟทีพี (Trivial File Transfer Protocol) ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเอฟทีพีที่ลดความซับซ้อนลง แต่ไม่สามารถควบคุมให้ทำงานประสานกันได้ และไม่มีการพิสูจน์ตัวจริง การทำงาน เครื่องลูกข่ายเริ่มต้นสร้า

FTAM (File Transfer, Access and Management)

รูปภาพ
FTAM  (File Transfer, Access and Management) File Transfer, Access and Management (FTAM) ให้บริการเกี่ยวกับการถ่ายโอนไฟล์ระหว่างคอมพิวเตอร์และการอ่าน การเขียน หรือแม้กระทั่งการลบไฟล์ที่อยู่ในอีกเครื่องหนึ่งได้ เป็นการถ่ายโอนข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง เอฟแทม (FTAM : File Transfer, Access and Management)     ในโอเอสไอเป็นชั้นบนสุดของ OSI และหมายถึง Application ทางด้านการสื่อสาร เช่น FTAM ( File Transfer, Access and Management) บริการถ่ายโอนไฟล์ รวมถึงอ่าน ลบ เขียนไฟล์ที่อยู่ในอีกเครื่องหนึ่ง, MHS (Message Handing Service) บริการเกี่ยวกับอีเมล์ ตัวอย่างการบริการของลำดับชั้นนี้แสดงความสำเร็จของการสื่อสาร การใส่รหัสเพื่อความปลอดภัยของข้อมูล การกู้ข้อมูลที่เกิดความเสียหาย FTAM  อยู่ระดับชั้นแอพลิเคชั่น ระดับชั้นบนสุดทำหน้าที่กำหนดแอพลิเคชันหรือโปรโตคอลเพื่อบริการผู้ใช้ แหล่งอ้างอิง http://www.cpe.ku.ac.th/

POP3 (Post Office Protocol version 3)

รูปภาพ
POP3  (Post Office Protocol version 3) คือโปรโตคอลที่ใช้รับ E-Mailที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ version 3 หรือเรียกสั้น ๆ ว่า POP3 มีการทำงานแบบ Store-and-Forward นั้นหมายความว่า e-mail ที่ได้รับจะถูกเก็บไว้ที่เครื่อง Server เพียงระยะเวลาหนึ่ง เมื่อมีความต้องการอ่าน e-mail ระบบจะทำการส่งข้อมูลของ e-mail มายังเครื่อง Client และลบข้อมูลบน Server ออก  แหล่งที่มา:goo.gl/Tp6gUW

HTTP (Hypertext Transfer Protocol)

รูปภาพ
  HTTP HTTP คืออะไรHTTP ย่อมาจาก Hypertext Transfer Protocol คือ โพรโทคอลสื่อสารสำหรับการแลกเปลี่ยนสารสนเทศผ่านอินเทอร์เน็ต โดยหลักแล้วใช้ในการรับเอกสารข้อความหลายมิติที่นำไปสู่การเชื่อมต่อกับ World Wide Web จะใช้เมื่อเรียกโปรแกรม web browser เช่น Firefox, Google ChromeSafari      โปรแกรมบราวเซอร์ดังกล่าวจะใช้โปรโตคอล HTTP ซึ่งโปรโตคอลนี้ทำให้เซิร์ฟเวอร์ส่งข้อมูลมาให้บราวเซอร์ตามต้องการ และบราวเซอร์จะนำข้อมูลมาแสดงผลบนจอภาพได้อย่างถูกต้องในการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่าง Server และ Client ของ World Wide Web (Server) โดยส่งข้อมูลแบบ Clear text ที่มา www.ismed.or.th www.modify.in.th www.intranet.dt.mahidol.ac.th
รูปภาพ
สมาชิกกลุ่ม   1. ธีรพงศ์ อินต๊ะทา    55141951 2.  นายธีราวิชญ์ ปินทรายมูล  57151148 3. อธิวัฒน์ วงศาไพรสณฑ์ 57151029 4. เกียรติศักดิ์ กันทะนะ 57151111 5. ณัฐนันท์ อิยะกาศ   57151107 6. สุภาวดี สายปันดิ   57151146