บทความ

รูปภาพ
       ตัวอย่างโปรโตคอล  ที่ทำงานใน OSI Model แต่ละ Layer ต่อไปนี้ มาอย่างน้อย Layer ละ 3-4 โปรโตคอล   OSI Model Layer Protocal Data Link Layer SBTV, SLIP,PPP Network Layer OSPF,  RIP , lGMP Transport Layer UDP, DCCP, SCTP Session Layer PPTP ,TCP, RTP Presentation Layer XDR , SSL, TLS Application Layer NTP,  SMPP, DHCP
รูปภาพ
     ARP             (Address Resolution Protocol)  เ ป็น โปรโตคอลที่ใช้ในการสื่อสารลักษณะการทำงานของARP ARP จะทำงานเมื่อมีการติดต่อสื่อสารบน LAN (Ethernet) ระหว่างเครื่องต้นทาง และ เครื่องปลายทาง ใช้ค้นหาและจับคู่ระหว่าง MAC Address กับ IP Address เพื่อให้ส่งถึงปลายทางในระดับ L2 ตาม OSI Model ได้ ลองมาดูเพื่อทำความเข้าใจกันต่อนะครับ   เมื่อเครื่อง NB1 ต้องการส่งข้อมูลหาเครื่อง NB2 จะเกิดการทำงานตาม OSI Model ดังนี้ (สมมุติว่าผมทำการ Ping จาก NB1 ไป NB2) ที่ Layer 3 เครื่อง NB1 จะสร้าง IP Packet ขึ้นมา โดยใน IP Packet จะระบุ Source IP address และ Destination IP address เพื่อใช้ในการส่งข้อมูล (Data)  IP Packet ของ NB1 จะถูก Encapsulation ลงมาที่ Layer 2 คือ Ethernet Frame โดยใน Ethernet Frame จะระบุ Source MAC address และ Destination MAC address จากรูป เป็น Ethernet Frame ของเครื่อง NB1 จะเห็นว่า เครื่อง NB1 จะไม่มีข้อมูล Destination MAC address ของเครื่อง NB2 ทำให้ยังไม่สามารถส่งข้อมูลได้ NB1 จึงจะต้องทำการถามหา MAC address ของ NB2 เพื่อให้การ Encapsulation บ

NNP

รูปภาพ
NNP NNP (Network News Transfer Protocol)  ใช้ในการส่งข้อมูลของระบบNetwork  เพื่อประโยชน์ในการดูแลและรับข้อมูลเชิงลึกของระบบคอมพิวเตอร์  แหล่งที่มา:goo.gl/rZdaZf

Point-to-Point Protocol

รูปภาพ
PPP PPP  หรือ Point-to-Point Protocol   เป็น Protocol สำหรับการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 ตัว หรือ Router 2 ตัว ด้วยการอินเตอร์เฟซแบบอนุกรม         ตามปกติคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่เชื่อมด้วยสายโทรศัพท์ไปที่เครื่อง Server ของผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตให้ผู้ใช้ต่อเชื่อมด้วย PPP ทำให้เครื่อง Server สามารถตอบสนองคำขอของผู้ใช้ได้ PPP ยังแบ่งเป็นหลายแบบตามสื่อที่ใช้งาน PPP PAP และ PPP CHAP สำหรับการเชื่อมต่อผ่าน Serial port หรือ PPPoE และ PPPoA  แหล่งที่มา:http://jodoi.org/protocol.html

Bootstrap Protocol

รูปภาพ
BOOTP BOOTP ย่อมาจากคำว่า Bootstrap Protocol เป็นโปรโตคอลที่พัฒนาให้ดีกว่า RARPปัจจุบันก็ยังมีการใช้งานอยู่ BOOTP เป็นต้นแบบของ DHCP ในการแก้ไขปัญหาการกำหนดหมายเลข IP ให้เครื่องสมาชิกโดยอัตโนมัติ         BOOTP มีแนวคิดมาจาก Diskless Workstation คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีดิสก์หรือไม่มีระบบปฏิบัติการอยู่ในตัว ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องที่เราใช้ทำงานอย่างเดียวไม่สามารถลงติดตั้งโปรแกรมหรือทำอย่างอื่นได้นอกเหนือจากงานที่กำหนดไว้ เช่น คอมพิวเตอร์ในช่องขายตั๋วหน้าเค้าท์เตอร์ธนาคาร ตลาดหุ้น ห้องสมุดซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้แสดงผล ค้นหา และทำธุรกรรมอย่างง่าย ๆ ได้ คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เมื่อเปิดเครื่อง เซิร์ฟเวอร์จะทราบได้ทันทีและส่งข้อมูลระบบปฏิบัติการโปรแกรมที่ต้องใช้ รวมถึงค่า IP เพื่อให้เครื่อง Diskless Workstation สามารถทำงานได้ แหล่งที่มา:http://pammare.blogspot.com/2013/09/8.html

IPX/SPX (Internetwork Packet Exchange/Sequenced Packet Exchange )

รูปภาพ
IPX/SPX  (In ternetwork Packet Exchange/Sequenced Packet Exchange ) IPX เป็นโปรโตคอลชนิดหนึ่งที่ทำงานอยู่ในคอมพิวเตอร์ โดยส่วนมากแล้วจะทำงานควบคู่กับโปรโตคอล SPX โดยเราจะเห็นการเขียน IPX/SPX อยู่เสมอ ก่อนที่เราจะรู้จักโปรโตคอลตัวนี้ให้ดีเสียก่อนเราควรรู้จักก่อนว่าโปรโตคอลมีความสำคัญและมีหน้าที่อย่างไรในระบบเน็ตเวิร์ค IPX คืออะไร ในการสื่อสารของระหว่างสิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีภาษาที่ใช้สื่อสารกันเฉพาะกลุ่มอยู่แล้ว ทั้งภาษาพูด และภาษากาย ซึ่งการพูดคุยกันนั้นเราจะต้องใช้ภาษาเดียวกันในการพูด แต่ถ้าคนที่คุยกันคนละภาษามาคุยกัน ก็ต้องใช้เครื่องแปลภาษาให้เป็นภาษากลางเพื่อให้คนทั้งสองพูดคุยกัน เช่นกันโปรโตคอลก็เหมือนกับเครื่องแปลภาษาที่จะคอยแปลภาษาให้เป็นภาษากลางให้คอมพิวเตอร์ทุกตัวในโลกนี้สามารถติดต่อกันได้แม้ว่าจะใช้ภาษาในการติดต่อกันคนละภาษาก็ตาม โดยหนึ่งในโปรโตคอลที่นิยมใช้งานกันมากตัวหนึ่งก็คือ IPX/SPX หลักการทำงานของโปรโตคอล IPX/SPX ถ้าจะเปรียบเทียบให้เห็นภาพก็ต้องแยกออกมาเป็นโปรโตคอล 2 ตัวด้วยกันคือ Internetwork Packet Exchange (IPX) ทำหน้าที่เหมือนกับพนักงานคัดแยะ

NetBIOS

รูปภาพ
NetBIOS          ถูกออกแบบมาเพื่อเป็น protocol ที่เป็นตัวเชื่อม (interface) ระหว่างระบบปฏิบัติการกับฮาร์ดแวร์ เพื่อให้ application สามารถสื่อสารกับเครือข่ายได้โดยเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ทั้งนี้application จะสามารถเข้าถึงเลเยอร์สูงสุดของ OSI model ได้เท่านั้น ซึ่งทำให้ application ที่สร้างขึ้นมาสามารถทำงานได้ในเครือข่ายที่มี network environment ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ NetBIOS จะทำหน้าที่ขนส่งข้อมูลไปยัง application ที่อยู่บนเครื่องอื่นในเครือข่ายให้                ใน ช่วงเริ่มต้นนั้น NetBIOS ถูกออกแบบให้ทำงานได้กับ IBM's PC LAN เท่านั้น แต่ปัจจุบัน NetBIOS ได้กลายเป็นพื้นฐานของ network application ไปแล้ว โดย NetBIOS เป็นโปรโตคอลที่ถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย มันสามารถทำงานได้บน Ethernet, Token ring, IBM PC Network NetBIOS ถูกออกแบบมาให้เป็นตัวเชื่อม เป็นส่วนขยายของ BIOS ที่ช่วยให้สามารถติดต่อใช้งานบริการบนเครือข่ายได้ จึงกล่าวได้ว่า NetBIOS ถูกออกแบบให้เป็น Application Program Interface (API) ในขณะเดียวกัน NetBIOS ก็ถือว่าเป็นโปรโตคอลได้เช่นเดียวกันกับTCP/IP เพราะมีชุดของโปรโต